หน้าหลัก arrow เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน arrow สิทธิมนุษยชนสนทนา
หน้าหลัก
รู้จักยส
อยู่กับปวงประชา
ข่าวย้อนหลัง
เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
ผู้ไถ่ : รายงานสถานการณ์
การศึกษาเพื่อสิทธิ&สันติภาพ
สื่อสิ่งพิมพ์ ยส.
มุมมองสิทธิฯ ในหนัง
กิจกรรม ยส.
คลังภาพ ยส.
เว็บบอร์ด ยส.
เว็บเพื่อนบ้าน
Facebook ยส.

ยส. (ยุติธรรมและสันติ)

จำนวนผู้เข้าชม
ขณะนี้มี 548 บุคคลทั่วไป ออนไลน์

คลิก เขียนสมุดเยี่ยมคลิก เขียนสมุดเยี่ยม
ขอบคุณทุกท่าน
ที่แวะเข้ามาค่ะ

แนะนำสื่อ ฉบับล่าสุด


วารสารผู้ไถ่ ฉบับที่ 124: เรียนรู้โลกยุคใหม่ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ชีวิต จิตวิญญาณ!?
 วารสารผู้ไถ่
ฉบับที่ 124


วันสันติสากล 1 มกราคม 2024
 สารวันสันติสากล
1 มกราคม 2024
ปัญญาประดิษฐ์
และสันติภาพ


น้ำแห่งชีวิต (Aqua fons vitae)
 น้ำแห่งชีวิต
(Aqua fons vitae)
สมณกระทรวงเพื่อ
ส่งเสริมการพัฒนา
มนุษย์แบบองค์รวม


สมณลิขิตเตือนใจ...แอมะซอนที่รัก (QUERIDA AMAZONIA)
 แอมะซอนที่รัก
(QUERIDA AMAZONIA)
สมณลิขิตเตือนใจ...
ของสมเด็จ-
พระสันตะปาปาฟรังซิส


จงสรรเสริญพระเจ้า... การก้าวออกไปอย่างต่อเนื่องของเอเชีย
หนังสือแปล
จงสรรเสริญพระเจ้า...
การก้าวออกไป
อย่างต่อเนื่องของเอเชีย


ประมวลหลักคำสอนด้านสังคมของพระศาสนจักร ภาคที่ 2 และ3
หนังสือแปล
Compendium...
ประมวลหลักคำสอน
ด้านสังคมของ
พระศาสนจักร
ภาคที่ 2 และ3
 


ประมวลหลักคำสอนด้านสังคมของพระศาสนจักร ภาคที่ 1
หนังสือแปล
Compendium...
ประมวลหลักคำสอน
ด้านสังคมของ
พระศาสนจักร ภาคที่ 1



หนังสือ Jesus CEO :  พระเยซูเจ้า นักบริหารชั้นนำ
หนังสือแปล
Jesus CEO :
พระเยซูเจ้า
นักบริหารชั้นนำ



หนังสือ เส้นทางสู่สิทธิมนุษยชนศึกษา
หนังสือ เส้นทางสู่
สิทธิมนุษยชนศึกษา


พระสมณสาสน์ความรักในความจริง : Caritas in Veritate
หนังสือแปล
Caritas in Veritate :

พระสมณสาสน์
ความรักในความจริง



โปสเตอร์ อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กแห่งสหประชาชาติ พ.ศ.2532
โปสเตอร์
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
แห่งสหประชาชาติ
พ.ศ.2532


เว็บเพื่อนบ้าน

แวดวงต่างประเทศ

Pax Christi International - PCI

ACPP - Hotline Asia


ดูเว็บอื่นๆ ในหมวด

เว็บน่าสนใจ

เว็บด้านสิทธิฯ

ข่าวสาร/บันเทิง

หน่วยงานองค์กรคาทอลิก


สิทธิมนุษยชนสนทนา
เสรีภาพของสื่อมวลชนเอเชีย ในรอบปี 2550 (ตอนที่ 3) โดย ศราวุฒิ ประทุมราช พิมพ์
Wednesday, 18 June 2008

เสรีภาพของสื่อมวลชนเอเชีย ในรอบปี 2550 (ตอนที่ 3)

โดย ศราวุฒิ ประทุมราช

5. มาเลเซีย  เสรีภาพของสื่อมวลชนมาเลเซียค่อนข้างเลวร้ายที่สุด รองจากเวียดนามและลาว ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ซึ่งหากรวม ประเทศทั้งหลายในเอเชียแล้ว คาดว่าคงอยู่ในระดับต้นๆ)ทั้งนี้องค์การผู้สื่อข่าวไร้พรมแดน ได้รายงานว่า ในมาเลเซีย สื่อมวลชนยังคงอยู่ในขั้นโคม่า ที่ถูกลิดรอน โดยรัฐบาลและโดยกลุ่มการเมืองที่มีชาวมาเลเซียเชื้อชาติอินเดียสนับสนุน ดังกรณี นายอาร์ ราหะมาน ช่างภาพสื่อมวลชนหนังสือพิมพ์ มาเลเซีย นานบัน ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ภาษาทมิฬ ที่เมือง โจฮอร์ บารู ทางตอนใต้ของมาเลเซีย ได้ถูกคนร้าย 2 คนเข้ามาทำร้ายร่างกายในสำนักงานได้รับบาดเจ็บสาหัส ถึงขั้นไม่รู้สึกตัว ต่อมาอีกสิบวัน นาย เอ็ม นาการาจัน เพื่อนนักข่าวร่วมสำนักงานได้รับโทรศัพท์ข่มขู่เอาชีวิต ว่า หากไม่อยากเป็นอย่างเพื่อนที่นอนไม่ฟื้นอยู่ในเวลานี้ ให้หยุดเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับเงื่อนไขความยากจนในโรงเรียน ประเด็นที่เป็นปัญหาของการถูกขู่ฆ่าและทำร้ายสื่อมวลชนทั้งสองนี้ เนื่องมาจากการเขียนบทความท้าทายการบริหารงานในโรงเรียนชาวทมิฬ ซึ่งบริหารโดยผู้นำของสภามาเลเซีย อินเดียน (Malaysia Indian Congress)          

 

เขียนความคิดเห็น (0 ความคิดเห็น)
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม...
เสรีภาพของสื่อมวลชนเอเชีย ในรอบปี 2550 (ตอนที่ 2) โดย ศราวุฒิ ประทุมราช พิมพ์
Wednesday, 11 June 2008


เสรีภาพของสื่อมวลชนเอเชีย ในรอบปี 2550
(ตอนที่ 2)

ดย ศราวุฒิ ประทุมราช

3. อินโดนีเซีย  ประเทศใหญ่สุดในกลุ่มอาเซียนที่มีประชากรกว่า 200 ล้านคน ที่ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม แม้จะได้รับการยกย่องว่าสื่อมวลชนที่นี่มีเสรีภาพค่อนข้างมาก แต่องค์การผู้สื่อข่าวไร้พรมแดน ก็ได้รายงานปัญหาใหญ่ 2 ประเด็น คือ การใช้กฎหมายอาญาลงโทษจำคุกสื่อมวลชนเพื่อให้หลาบจำหรือให้คิดใหม่ ในสิ่งที่คิดหรือเผยแพร่ข้อมูลที่ผิดพลาด และ การที่ฝ่ายทหารปกปิดผลการสอบสวนกรณีที่มีผู้สื่อข่าวถูกฆาตกรรมใน ติมอร์ เลสเต สมัยที่ยังเป็นอีส ติมอร์          

 

เขียนความคิดเห็น (0 ความคิดเห็น)
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม...
เสรีภาพของสื่อมวลชนเอเชีย ในรอบปี 2550 (ตอนที่ 1) โดย ศราวุฒิ ประทุมราช พิมพ์
Wednesday, 04 June 2008
 


เสรีภาพของสื่อมวลชนเอเชีย ในรอบปี 2550 (ตอนที่ 1)

โดย ศราวุฒิ ประทุมราช 

ท่ามกลางการปะทะคารมระหว่างผู้นำประเทศและรัฐมนตรีบางคนในรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช กับสื่อมวลชนไม่เว้นแต่ละวัน ทำให้ดูราวกับว่าสื่อมวลชนของไทยนั้นมีเสรีภาพ ในการรายงานข่าวและมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น มากกว่าสื่อมวลชนของอีกหลายประเทศในเอเชียนั้น

 

เขียนความคิดเห็น (0 ความคิดเห็น)
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม...
การใช้สิทธิทางศาล คือ สันติวิธีในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงภาคใต้ : ศราวุฒิ ประทุมราช พิมพ์
Tuesday, 27 May 2008


การใช้สิทธิทางศาล คือ สันติวิธีในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงภาคใต้

โดย ศราวุฒิ ประทุมราช

นับเป็นเรื่องที่น่ายินดีที่มีการใช้สิทธิทางศาล ในการขอให้มีการปล่อยตัวผู้ถูกควบคุมตัวโดยมิชอบ ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร ได้จับกุมผู้ต้องสงสัยมาสอบสวนและมีการซ้อมทรมานผู้ถูกจับกุม ถือเป็นการใช้มาตรการอย่างสันติวิธี ที่ต้องได้รับการปฏิบัติต่อไปอันจะเป็นหนทางหนึ่งในการแก้ไขความไม่สงบในภาคใต้   

 

เขียนความคิดเห็น (0 ความคิดเห็น)
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม...
การเมือง กีฬาและสิทธิมนุษยชน : ศราวุฒิ ประทุมราช พิมพ์
Wednesday, 14 May 2008


การเมือง กีฬาและสิทธิมนุษยชน

โดย : ศราวุฒิ ประทุมราช

กรณีการวิ่งคบเพลิงเพื่อนำไฟฤกษ์จากประเทศกรีซ ไปยังประเทศเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก คือ จีน ได้ก่อให้เกิดกระแสการคัดค้านจากทั่วโลก โดยมีผู้ประท้วง ขัดขวางการวิ่งทั้งในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษและกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อช่วงสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา ซึ่งทรวงการต่างประเทศของจีน ถึงกับเผยแพร่คำแถลงไว้ในเว็บไซต์ประณามว่าการเจตนาขัดขวางการวิ่งคบเพลิงว่าเป็นการกระทำโดยไม่คำนึงถึงจิตวิญญาณของกีฬาโอลิมปิกและไม่เคารพกฎหมายของอังกฤษและฝรั่งเศส และระบุว่าเป็นการกระทำโดยกลุ่มแบ่งแยกดินแดนชาวทิเบต กระแสการคัดค้านการจัดกีฬาโอลิมปิก ที่ประเทศจีน ได้เกิดขึ้นมานานแล้ว และยิ่งเป็นประเด็นแหลมคมในเวที โลก เมื่อทางการจีนได้ทำการปราบปรามลามะ และประชาชนที่เดินขบวน เรียกร้องเอกราชในเมืองหลวงของทิเบต ตามข่าวปรากฏว่ามีผู้เสียชีวิต กว่า 100 คน ขณะที่ตัวเลขของทางการจีนแถลงว่ามีผู้เสียชีวิตเพียง 14 คน   

 

เขียนความคิดเห็น (0 ความคิดเห็น)
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม...
<< หน้าแรก < ย้อนกลับ 1 2 3 หน้าถัดไป > หน้าสุดท้าย >>

ผลลัพธ์ 10 - 18 จาก 20