หน้าหลัก arrow เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน arrow สิทธิมนุษยชนสนทนา
หน้าหลัก
รู้จักยส
อยู่กับปวงประชา
ข่าวย้อนหลัง
เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
ผู้ไถ่ : รายงานสถานการณ์
การศึกษาเพื่อสิทธิ&สันติภาพ
สื่อสิ่งพิมพ์ ยส.
มุมมองสิทธิฯ ในหนัง
กิจกรรม ยส.
คลังภาพ ยส.
เว็บบอร์ด ยส.
เว็บเพื่อนบ้าน
Facebook ยส.

ยส. (ยุติธรรมและสันติ)

จำนวนผู้เข้าชม
ขณะนี้มี 213 บุคคลทั่วไป ออนไลน์

คลิก เขียนสมุดเยี่ยมคลิก เขียนสมุดเยี่ยม
ขอบคุณทุกท่าน
ที่แวะเข้ามาค่ะ

แนะนำสื่อ ฉบับล่าสุด


วารสารผู้ไถ่ ฉบับที่ 123: ชีวิต การต่อสู้ เพื่อความดีของกันและกัน กำลังใจ ความรัก และความหวัง
 วารสารผู้ไถ่
ฉบับที่ 123


วันสันติสากล 1 มกราคม 2024
 สารวันสันติสากล
1 มกราคม 2024
ปัญญาประดิษฐ์
และสันติภาพ


น้ำแห่งชีวิต (Aqua fons vitae)
 น้ำแห่งชีวิต
(Aqua fons vitae)
สมณกระทรวงเพื่อ
ส่งเสริมการพัฒนา
มนุษย์แบบองค์รวม


สมณลิขิตเตือนใจ...แอมะซอนที่รัก (QUERIDA AMAZONIA)
 แอมะซอนที่รัก
(QUERIDA AMAZONIA)
สมณลิขิตเตือนใจ...
ของสมเด็จ-
พระสันตะปาปาฟรังซิส


จงสรรเสริญพระเจ้า... การก้าวออกไปอย่างต่อเนื่องของเอเชีย
หนังสือแปล
จงสรรเสริญพระเจ้า...
การก้าวออกไป
อย่างต่อเนื่องของเอเชีย


ประมวลหลักคำสอนด้านสังคมของพระศาสนจักร ภาคที่ 2 และ3
หนังสือแปล
Compendium...
ประมวลหลักคำสอน
ด้านสังคมของ
พระศาสนจักร
ภาคที่ 2 และ3
 


ประมวลหลักคำสอนด้านสังคมของพระศาสนจักร ภาคที่ 1
หนังสือแปล
Compendium...
ประมวลหลักคำสอน
ด้านสังคมของ
พระศาสนจักร ภาคที่ 1



หนังสือ Jesus CEO :  พระเยซูเจ้า นักบริหารชั้นนำ
หนังสือแปล
Jesus CEO :
พระเยซูเจ้า
นักบริหารชั้นนำ



หนังสือ เส้นทางสู่สิทธิมนุษยชนศึกษา
หนังสือ เส้นทางสู่
สิทธิมนุษยชนศึกษา


พระสมณสาสน์ความรักในความจริง : Caritas in Veritate
หนังสือแปล
Caritas in Veritate :

พระสมณสาสน์
ความรักในความจริง



โปสเตอร์ อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กแห่งสหประชาชาติ พ.ศ.2532
โปสเตอร์
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
แห่งสหประชาชาติ
พ.ศ.2532


เว็บเพื่อนบ้าน

แวดวงต่างประเทศ

Pax Christi International - PCI

ACPP - Hotline Asia


ดูเว็บอื่นๆ ในหมวด

เว็บน่าสนใจ

เว็บด้านสิทธิฯ

ข่าวสาร/บันเทิง

หน่วยงานองค์กรคาทอลิก


สิทธิมนุษยชนสนทนา
ทำไมจึงต้องคัดค้านพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ พิมพ์
Friday, 13 August 2010

ยุติธรรมนำสันติ
ศราวุฒิ ประทุมราช

ทำไมจึงต้องคัดค้านพระราชกำหนด

การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘


นับแต่รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง โดยอาศัยอำนาจตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ เพื่อสลายการชุมนุมของกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) เมื่อวันที่ ๗ เมษายน ๒๕๕๓ และมีการประกาศเพิ่มเติมอีก ๒ ครั้ง คือ ในวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๓ และ ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง ฉบับที่ ๓ ในเขตท้องที่จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดหนองบัวลำภู จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดร้อยเอ็ด และจังหวัดสกลนคร เป็นต้นมา ส่งผลให้เกิดการคัดค้านการประกาศดังกล่าวจากทั้งนักวิชาการนิติศาสตร์ นักรัฐศาสตร์และนักสังคมวิทยามานุษยวิทยา นักสิทธิมนุษยชน และประชาชนที่รักในระบอบเสรีประชาธิปไตยเป็นจำนวนมาก สังคมไทยได้เข้าสู่ความแตกแยกทางความคิดเห็นอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของประเทศ ด้วยรัฐบาลมีความเห็นว่าการชุมนุมของกลุ่ม นปช. เป็นภัยร้ายแรงต่อความอยู่รอดของชาติและเป็นการขัดขวางการใช้ชีวิตโดยปกติ ของประชาชน ในขณะที่ฝ่ายที่คัดค้านรัฐบาลเห็นว่า สถานการณ์ของประเทศยังไม่ถึงขั้นวิกฤติเป็นสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้าย แรงแต่อย่างใด รัฐบาลสามารถใช้กฎหมายที่มีอยู่จัดการกับการกระทำผิดกฎหมายหรือเป็นการชุมนุมที่ใช้เสรีภาพเกินขอบเขตของการใช้สิทธิเสรีภาพในการชุมนุมอย่างสงบได้ โดยไม่ต้องเสียเลือดเนื้อ และงบประมาณในการนำทหารและอาวุธสงครามออกมาเข่นฆ่าประชาชนบนท้องถนนกลางเมืองหลวง ซึ่งสอดคล้องกับความคิดเห็นของสังคมนานาชาติที่ต่างเห็นว่ารัฐบาลควรยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวโดยเร็ว การคงอยู่ของสถานการณ์ฉุกเฉิน จะเป็นตัวเร่งเร้าให้สังคมไทยยิ่งไม่มีทางออก และนำไปสู่การเคลื่อนไหว "ใต้ดิน" ที่รัฐไม่สามารถควบคุมได้

เพื่อความกระจ่างของเรื่องนี้ เราลองมาทำความเข้าใจ พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งให้อำนาจนายกรัฐมนตรีประกาศให้พื้นที่ใดหรืออาณาบริเวณใดหรือเหตุการณ์ใดเป็นสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงได

เขียนความคิดเห็น (0 ความคิดเห็น)
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม...
สันติวิธีและทางรอดของการยุติความรุนแรงในภาคใต้ (ตอนที่ 4) โดย : ศราวุฒิ ประทุมราช พิมพ์
Wednesday, 20 August 2008

 

สันติวิธีและทางรอดของการยุติความรุนแรงในภาคใต้ (ตอนที่ 4)

โดย : ศราวุฒิ ประทุมราช


          มาถึงบทสุดท้ายของทางรอดของการยุติความรุนแรงในภาคใต้อย่างสันติวิธี นั่นคือ กลยุทธในการชุมนุม ซึ่งตามปกติ สังคมไทยมักไม่ค่อยชอบการชุมนุมนัก โดยเฉพาะ การชุมนุมทางการเมืองในกรุงเทพฯ ที่ผู้ใช้รถใช้ถนน มักเดือดร้อน รำคาญ ว่า ผู้ชุมนุมก่อปัญหาทำ ให้รถติด หรือมักก่อความวุ่นวาย ไม่สงบ เช่น การชุมนุมของกลุ่ม นปก.หน้าบ้าน พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เมื่อปีที่แล้ว จนผู้นำในการชุมนุม ได้ดิบได้ดีในรัฐบาลสมัคร 1 ซึ่งไม่ใช่ประเด็นในการวิจารณ์ครั้งนี้ เพราะ ต้องการอธิบายว่า การชุมนุมเป็นสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นประการหนึ่ง และเป็นเป้าหมายสำคัญของการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในภาคใต้ ได้ทางทางหนึ่ง

 

เขียนความคิดเห็น (0 ความคิดเห็น)
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม...
สันติวิธีและทางรอดของการยุติความรุนแรงในภาคใต้ (ตอนที่ 3) โดย : ศราวุฒิ ประทุมราช พิมพ์
Wednesday, 13 August 2008

สันติวิธีและทางรอดของการยุติความรุนแรงในภาคใต้ (ตอนที่ 3)

โดย : ศราวุฒิ ประทุมราช


ใน การปฏิบัติการไร้ความรุนแรงนั้นมีรูปแบบที่มักใช้อยู่เสมอได้แก่ การเจรจา การรณรงค์ เผยแพร่ การชุมนุม การรักษาความสงบ ในที่นี้ขอเสนอทักษะที่สำคัญ 2 ประการ เพื่อให้ผู้ศึกษาได้ทราบแนวทางเพื่อนำไปฝึกปฏิบัติได้แก่ การเจรจาและการชุมนุม


เขียนความคิดเห็น (0 ความคิดเห็น)
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม...
สันติวิธีและทางรอดของการยุติความรุนแรงในภาคใต้ (ตอนที่ 2) โดย : ศราวุฒิ ประทุมราช พิมพ์
Wednesday, 06 August 2008


สันติวิธีและทางรอดของการยุติความรุนแรงในภาคใต้ (ตอนที่ 2)

 โดย : ศราวุฒิ ประทุมราช   


2.3 การไม่ให้ความร่วมมือทางการเมือง เป็นปฏิบัติการที่มุ่งสร้างแรงกดดันต่อรัฐบาล หรือต่อกลุ่มที่พยายามควบคุมกลไกรัฐโดยมิชอบ อาจมีจุดมุ่งหมายเพื่อเปลี่ยนแปลงนโยบายรัฐบาลหรือเปลี่ยนรัฐบาล แต่บางครั้งก็เป็นการกระทำของรัฐบาลหนึ่งต่ออีกรัฐบาลหนึ่ง แบ่งออกเป็น

 

เขียนความคิดเห็น (0 ความคิดเห็น)
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม...
สันติวิธีและทางรอดของการยุติความรุนแรงในภาคใต้ (ตอนที่ 1) โดย : ศราวุฒิ ประทุมราช พิมพ์
Wednesday, 30 July 2008

 

สันติวิธีและทางรอดของการยุติความรุนแรงในภาคใต้ (ตอนที่ 1)

โดย : ศราวุฒิ ประทุมราช

จาก เหตุการณ์ลอบวางระเบิดโรงแรม ซี เอส ปัตตานี และการยิงเข้าใส่มัสยิดที่จังหวัดยะลา รวมถึง ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในภาคใต้นั้น ขอเสนอแนวทางสันติวิธี ที่เป็นยุทธการที่เคยประสบผลสำเร็จมาแล้วในอดีต มานำเสนอ และขอเชิญทุกท่านมีส่วนร่วมคิดค้น ปฏิบัติการต่างๆที่สามารถดำเนินการได้อย่างเป็นจริงด้วย ข้อเสนอเหล่านี้ปรับปรุงและเรียบเรียงมาจาก หนังสือ สร้างสันติด้วยมือเรา ที่หวังว่าคงเป็นประโยชน์บ้าง ไม่มากก็น้อย

 

เขียนความคิดเห็น (0 ความคิดเห็น)
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม...
<< หน้าแรก < ย้อนกลับ 1 2 3 หน้าถัดไป > หน้าสุดท้าย >>

ผลลัพธ์ 1 - 9 จาก 20