หน้าหลัก arrow ข่าวย้อนหลัง
หน้าหลัก
รู้จักยส
อยู่กับปวงประชา
ข่าวย้อนหลัง
เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
ผู้ไถ่ : รายงานสถานการณ์
การศึกษาเพื่อสิทธิ&สันติภาพ
สื่อสิ่งพิมพ์ ยส.
มุมมองสิทธิฯ ในหนัง
กิจกรรม ยส.
คลังภาพ ยส.
เว็บบอร์ด ยส.
เว็บเพื่อนบ้าน
Facebook ยส.

ยส. (ยุติธรรมและสันติ)

จำนวนผู้เข้าชม
ขณะนี้มี 1221 บุคคลทั่วไป ออนไลน์

คลิก เขียนสมุดเยี่ยมคลิก เขียนสมุดเยี่ยม
ขอบคุณทุกท่าน
ที่แวะเข้ามาค่ะ

แนะนำสื่อ ฉบับล่าสุด


วารสารผู้ไถ่ ฉบับที่ 123: ชีวิต การต่อสู้ เพื่อความดีของกันและกัน กำลังใจ ความรัก และความหวัง
 วารสารผู้ไถ่
ฉบับที่ 123


วันสันติสากล 1 มกราคม 2024
 สารวันสันติสากล
1 มกราคม 2024
ปัญญาประดิษฐ์
และสันติภาพ


น้ำแห่งชีวิต (Aqua fons vitae)
 น้ำแห่งชีวิต
(Aqua fons vitae)
สมณกระทรวงเพื่อ
ส่งเสริมการพัฒนา
มนุษย์แบบองค์รวม


สมณลิขิตเตือนใจ...แอมะซอนที่รัก (QUERIDA AMAZONIA)
 แอมะซอนที่รัก
(QUERIDA AMAZONIA)
สมณลิขิตเตือนใจ...
ของสมเด็จ-
พระสันตะปาปาฟรังซิส


จงสรรเสริญพระเจ้า... การก้าวออกไปอย่างต่อเนื่องของเอเชีย
หนังสือแปล
จงสรรเสริญพระเจ้า...
การก้าวออกไป
อย่างต่อเนื่องของเอเชีย


ประมวลหลักคำสอนด้านสังคมของพระศาสนจักร ภาคที่ 2 และ3
หนังสือแปล
Compendium...
ประมวลหลักคำสอน
ด้านสังคมของ
พระศาสนจักร
ภาคที่ 2 และ3
 


ประมวลหลักคำสอนด้านสังคมของพระศาสนจักร ภาคที่ 1
หนังสือแปล
Compendium...
ประมวลหลักคำสอน
ด้านสังคมของ
พระศาสนจักร ภาคที่ 1



หนังสือ Jesus CEO :  พระเยซูเจ้า นักบริหารชั้นนำ
หนังสือแปล
Jesus CEO :
พระเยซูเจ้า
นักบริหารชั้นนำ



หนังสือ เส้นทางสู่สิทธิมนุษยชนศึกษา
หนังสือ เส้นทางสู่
สิทธิมนุษยชนศึกษา


พระสมณสาสน์ความรักในความจริง : Caritas in Veritate
หนังสือแปล
Caritas in Veritate :

พระสมณสาสน์
ความรักในความจริง



โปสเตอร์ อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กแห่งสหประชาชาติ พ.ศ.2532
โปสเตอร์
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
แห่งสหประชาชาติ
พ.ศ.2532


เว็บเพื่อนบ้าน

แวดวงต่างประเทศ

Pax Christi International - PCI

ACPP - Hotline Asia


ดูเว็บอื่นๆ ในหมวด

เว็บน่าสนใจ

เว็บด้านสิทธิฯ

ข่าวสาร/บันเทิง

หน่วยงานองค์กรคาทอลิก

บทความล่าสุด

   อนึ่ง บทความ หรือข้อเขียนทั้งหมดที่นำลงเว็บไซต์ jpthai.org เป็นทัศนะเฉพาะของผู้เขียน
และไม่ผูกพันกับคณะกรรมการคาทอลิกเพื่อความยุติธรรมและสันติ

ทางเว็บไซต์ jpthai อนุญาตให้คัดลอกบทความ/ข้อมูล เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ได้
แต่กรุณาระบุชื่อผู้เขียน และแหล่งที่มาด้วย ขอบคุณค่ะ

 

Donation / สนับสนุนการดำเนินงาน

  • โอนเข้าบัญชี ในนาม
    คณะกรรมการคาทอลิกฯ แผนกยุติธรรมและสันติ 
    ธนาคารกสิกรไทย สาขาห้วยขวาง บัญชีออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 084-2-07639-2
    (กรุณา
    ส่งสำเนาการโอนเงินทางอีเมล์ ccjpthai@gmail.com)
    (หรือ ส่งสำเนามาที่ LINE:
    https://lin.ee/LdMulwv)

  • ทางธนาณัติ สั่งจ่ายในนาม “ปริญดา วาปีกัง” ตู้ ปณ. สุทธิสาร (10321)
    114 (2492) ถ.ประชาสงเคราะห์ ซอย 24 ดินแดง กรุงเทพฯ 10400

ข่าวย้อนหลัง
รากฐานเทววิทยาแห่งความ(อ)ยุติธรรมในสังคม : อัจฉรา สมแสงสรวง (แปลและเรียบเรียง) พิมพ์
Wednesday, 04 May 2016

รากฐานเทววิทยาแห่งความ(อ)ยุติธรรมในสังคม

โดย อัจฉรา  สมแสงสรวง  แปลและเรียบเรียง

 

(1)

 บทความนี้ ผู้เขียนคือคุณพ่อ Tissa Balasuriya ซึ่งเป็นนักเทวศาสตร์ชาวศรีลังกา ตั้งใจที่จะนำเสนอบทวิจารณ์ เพื่อตรวจสอบปัญหาของสถานการณ์ความอยุติธรรมด้วยมุมมองทางเทววิทยาของคริสตชน เนื่องจากเป็นทัศนะที่น่าสนใจ จึงขอนำเสนอผ่าน "ผู้ไถ่" ฉบับนี้

เมื่อมองเห็นหัวข้อรากฐานเทววิทยาแห่งความอยุติธรรมในสังคม ในตอนแรกนี้ดูเหมือนว่าจะเป็นการนำเสนอเรื่องที่ขัดแย้งกันในตัวเอง เพราะว่าเทววิทยาซึ่งเป็นการศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างพระเจ้ากับ มนุษย์ จำเป็นต้องส่งเสริมความยุติธรรม และเอาใจใส่ต่อทุกๆ คน ด้วยความรักอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังที่พระเจ้าทรงเป็นองค์ความรัก กระนั้นก็ดี จากการศึกษาประวัติศาสตร์ ก็ได้พบถึงความสัมพันธ์ระหว่างศาสนาที่ไม่มีคุณธรรมและสังคมที่อยุติธรรมปรากฏอยู่เช่นกัน...

เขียนความคิดเห็น (0 ความคิดเห็น)
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม...
จิตวิญญาณผู้หญิง : ตำนาน ความเชื่อ และเรื่องเล่า พิมพ์
Wednesday, 27 April 2016

จิตวิญญาณผู้หญิง :

ตำนาน ความเชื่อ และเรื่องเล่า

จากการบรรยายจิตวิญญาณผู้หญิง เรื่องเล่าและตำนาน-
ก่อนยุคประวัติศาสตร์ : ไพรินทร์  โชติสกุลรัตน์

ถอดความโดย อัจฉรา สมแสงสรวง

                                                                                                           

ทำไมจึงมีการศึกษาเรื่องจิตวิญญาณผู้หญิง 

คำถามเบื้องต้นสำหรับเราๆ ท่านๆ  นี้ไม่ใช่คำถามที่แปลก   เพราะในวงการศาสนา หรือการศึกษาจิตวิญญาณทั้งหลาย ในยุคประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา   อยู่ในการตีความหรือการบันทึก หรือการสอนโดยผู้ชายเป็นหลัก (history) จนสังคมยอมรับว่าเป็นเรื่องปกติ  ดังนั้นเมื่อมีกลุ่มผู้ศึกษาริเริ่มทำความเข้าใจในเรื่องของผู้หญิงและจิตวิญญาณที่เป็นแก่นแท้ในตัวเธอ (herstory)  ก็เริ่มปรากฏความสงสัย ไม่เห็นด้วย   ด้วยเกรงว่าจะนำไปสู่ความแปลกแยก  แต่ที่สุดแล้ว  การศึกษาจิตวิญญาณผู้หญิงควรนำไปสู่ความเข้าใจสังคมมนุษย์ที่สมบูรณ์มากขึ้น ...

เขียนความคิดเห็น (0 ความคิดเห็น)
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม...
บทรำพึงถึงสันติภาพ : จูลส์ ชอมเบ้ พิมพ์
Friday, 22 April 2016

บทรำพึงถึง

สันติภาพ

จูลส์  ชอมเบ้
นักศึกษาชาวโตโก อาฟริกา

สันติ...ทุกคนนิยมถือคติอันนี้ คือ สันติ...

 

สันติ  มิได้หมายความเพียงการลดอาวุธ ตามที่เราเคยคิดกัน

สันติ  คือ  การคืนดีกัน ความสงบ มีจิตใจราบคาบ คือ ความเจริญของชาติ นั่นเอง

              ถ้าเรามัวกลัว หดหัวเข้ากระดองเหมือนเต่า ซึ่งไม่เอาไหนเลย

แล้วเราจะมีสันติละหรือ...

เขียนความคิดเห็น (0 ความคิดเห็น)
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม...
สันติไม่อาจมี หากย่ำยีเสรีภาพ : หัจญีประยูร วทานยกุล พิมพ์
Thursday, 21 April 2016

Image




สันติไม่อาจมี

หากย่ำยีเสรีภาพ


โดย หัจญีประยูร  วทานยกุล


วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๒๔ ถูกกำหนดให้เป็น วันสันติสากล พร้อมกันนี้ ก็ได้ตั้งคำจูงใจไว้ว่า "To serve peace, respect freedom" ซึ่งคณะกรรมการยุติธรรมและสันติแห่งประเทศไทย ได้ถอดความเป็นภาษาไทยว่า "สันติไม่อาจมี หากย่ำยีเสรีภาพ" คำจูงใจนี้ไม่ผิดอะไรกับคำป่าวประกาศ ฟังแล้วทั้งกร้าวทั้งเตือนสติ จะว่าขู่ก็ขู่ จะว่าจริงจังก็จริงจัง จะว่าวิงวอนก็ใช่ แถมยังแฝงเรื่องสิทธิมนุษยชนเข้าไว้ด้วย เป็นข้อความชัดแจ้งอ่านแล้วเข้าใจทันทีว่า ถ้าต้องการดำรงไว้ซึ่งสันติหรือความสงบในมวลมนุษย์ ก็้องเคารพในเสรีภาพของกันและกัน แม้จะเป็นคำเตือนใจที่เจาะจงจะปราบชนผู้เป็นฝ่ายปกครองมิให้ใช้อำนาจกดขี่ชนผู้อยู่ใต้ปกครองไม่ว่าในสังคมใดก็ตาม แต่ก็กระเดียดจะเป็นเรื่องทางการเมืองระหว่างผู้ปกครองประเทศกับผู้อยู่ใต้ ปกครอง จะอย่างไรผมก็เห็นว่า เป็นเรื่องเกี่ยวกับธรรมะส่วนหนึ่งและจะขอกล่าวจากพื้นฐานของธรรมะ ...

เขียนความคิดเห็น (0 ความคิดเห็น)
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม...
ติดตามความคิดของพระสันตะปาปาฟรังซิส : อัจฉรา สมแสงสรวง พิมพ์
Wednesday, 23 March 2016

วารสารผู้ไถ่ ฉบับที่ ๙๓
ต่าง Gen ไม่ต่างใจ

โดย อัจฉรา  สมแสงสรวง


ติดตามความคิดของพระสันตะปาปาฟรังซิส  




    ภาพ: danutm.files.wordpress.com    
ในช่วงเวลา ๘ เดือน แห่งสมณสมัยของพระสันตะปาปาฟรังซิส  พระองค์ได้สร้างแรงกระเพื่อมในสังคมของคริสตชนคาทอลิกเป็นอย่างมาก ด้วยภาพลักษณ์ของนักอภิบาลด้านสังคม มากกว่าผู้สอนหลักความเชื่อ ความห่วงใยทางสังคมที่ผู้นำศาสนจักรท่านนี้ถ่ายทอดออกมาสู่สาธารณะ เป็นผลกระทบของผู้คนจากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของวัฒนธรรมเศรษฐกิจ "มาเร็ว กินเร็ว ทิ้งไว้ แล้วไป" ที่กำลังทำลายคุณค่าของมนุษย์ในสังคมทุกระดับ 

การใช้ชีวิตอย่างไม่สะทกสะท้านกับสิ่งที่เกิดขึ้นรอบๆข้างเป็นปรากฏการณ์ทางสังคมที่พระสันตะปาปา ฟรังซิส เป็นห่วงอย่างยิ่ง เพราะท่ามกลางบรรยากาศเช่นที่เป็นอยู่ทุกวันนี้  "หากมีใครถามขึ้นมาว่า  ‘พี่น้องของท่านอยู่ไหน? ใครเป็นพี่น้องชายหญิงของท่านในสังคม?'  และนี่คือคำตอบ ฉันไม่มีพี่น้องร่วมในสังคม หรือมันไม่ใช่ธุระกงการอะไรของฉัน... ต้องเป็นคนอื่น หรือต้องเป็นใครสักคน แต่ที่แน่ๆ ไม่ใช่ฉัน... ที่ข้างทาง ริมถนน  ฉันเห็นคนบาดเจ็บทั้งทางกายภาพ หรือด้านจิตใจ แต่ก็พูดว่า แหม น่าสงสารจริงๆ แล้วก็เดินผ่านเลยไป พลางคิดว่า เดี๋ยวคนอื่นคงมาช่วย" ...

เขียนความคิดเห็น (0 ความคิดเห็น)
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม...
<< หน้าแรก < ย้อนกลับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 หน้าถัดไป > หน้าสุดท้าย >>

ผลลัพธ์ 73 - 81 จาก 488